พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล “เราจะเป็นมิตรกับตนเอง ได้อย่างไร?”

ธรรมบรรยายหัวข้อเรื่อง “การเป็นหนึ่งกับตัวเองอย่างมีคุณค่า” โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล

[We Oneness PODCAST Ep.2]

ธรรมบรรยายหัวข้อเรื่อง “การเป็นหนึ่งกับตัวเองอย่างมีคุณค่า”
โดย พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล
ถ่ายทอดสดจากงาน Wake up ONE : Writers & Stars Awakening Workshop

กิจกรรม Wake up ONE เป็นส่วนหนึ่งของ “โครงการขับเคลื่อนสังคมแห่งการตื่นรู้สู่หนึ่งเดียวกัน – We Oneness“

ดำเนินงานโดยมูลนิธิสหธรรมิกชนภายใต้การสนับสนุนของ สสส. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ) : ThaiHealth

** เลือกฟังหัวข้อธรรมบรรยาย **
00:00– Introduction
00:46– กินอาหารบำรุงกาย ใจ และปัญญา
06:33– การเป็นหนึ่งกับตัวเอง กับการเป็นที่1ในโลก 09:56– เราอยู่กับตัวเองไม่ได้
25:27– ความเป็นหนึ่งของกายกับใจ
33:55– ความเป็นหนึ่งของสมอง(เหตุผล) กับหัวใจ(อารมณ์)
44:27– สมองนำหัวใจ / หัวใจนำสมอง
51:15– เมื่อฉันและกูอยู่ด้วยกันไม่ได้
1:25:57– การเป็นมิตรกับตัวเอง และการเป็นหนึ่งเดียวกัน

Q&A
56:50 – อยากเลิกติดหวย เราจะหักห้ามใจจากกิเลศได้อย่างไร?
1:09:23 – ผีมีจริงหรือไม่ ถ้ามีผีจะเป็นอย่างไร?
1:11:01 – ทำไมจำนวนมนุษย์เพิ่มขึ้นตลอดเวลา ถ้ามีจำนวนจิตเกิดดับมีเท่าเดิม
1:13:30 – ทำไม เดจาวู เกิดขึ้นกับเรา?
1:16:07 – ทุกข์จากการมีเจ้านายที่เห็นแก่ตัวต้องทำอย่างไร? (ทุกข์อยู่ที่ใจเรา)

- RELATED POSTS-

Sustainability กับ IDGs Reflection

SDGs หรือ Sustainable Development Goals คือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รับรองโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nations) โดยมีขอบเขตที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสุขภาพความเป็นอยู่ที่ดี เรื่องการพัฒนานวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ การใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน รวมไปถึงการพัฒนาความยั่งยืนกับชุมชน ฯลฯ

Read More »

Voice Dialogue

การรู้ทันตัวเองคือการเห็นว่าตัวเองกำลังถือด้านไหนของตัวเองอยู่ เช่น ความขยัน แล้วเข้าใจด้านที่อยู่ตรงข้าม เช่น ความชิลล์ แล้วสามารถมาสังเกตความขัดแย้งระหว่างด้านสองด้านที่ตรงข้ามกัน แล้วก็กลับไปเข้าใจถึงบริบทสถานการณ์ว่า ณ ขณะนี้ ต้องใช้ตัวตนไหนออกมาทำงาน แล้วเลือกแสดงออกอย่างสมดุล…แล้วเราจะไม่เป็นทาสของบุคลิกภาพที่เราอยากให้ตัวเองเป็น แต่เป็นนายในการเลือกโดยทะลุกรอบภาพลักษณ์”

Read More »

Nontechnical Skills

การเลือกใส่ใจกับสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นการฝึกนิสัยคิดถึงผู้อื่น และแสดงให้เห็นถึงความใส่ใจ การเตรียมตัว และการให้เกียรติแก่ผู้จัดงาน
และพฤติกรรมเหล่านี้ อาจส่งผลต่อผู้ร่วมสนทนาใน first impression เลยก็ได้ ที่ทำให้เขาอยาก หรือ ไม่อยากร่วมงานกับเราศูนย์นี้จึงถูกตั้งขึ้นเพื่อเติมเต็มช่องว่างดังกล่าว โดยมีเป้าหมายสร้างพื้นที่ที่เอื้อให้ผู้เรียนค้นพบความสมบูรณ์ในตนเอง และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเข้าใจ

Read More »

จิตตปัญญาศึกษา โดย กัญจน์

แนวคิดของศูนย์จิตตปัญญาศึกษาเกิดจากการมองเห็นจุดอ่อนในระบบการศึกษาแบบดั้งเดิมที่เน้นเฉพาะความรู้และความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ แต่ละเลยมิติของความเป็นมนุษย์และการเข้าใจตนเอง
ศูนย์นี้จึงถูกตั้งขึ้นเพื่อเติมเต็มช่องว่างดังกล่าว โดยมีเป้าหมายสร้างพื้นที่ที่เอื้อให้ผู้เรียนค้นพบความสมบูรณ์ในตนเอง และเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเข้าใจ

Read More »

การฝึกสติมักถูกเข้าใจผิดว่าอะไร และแท้จริงแล้วสติมันช่วยเรายังไง

“การฝึกสติพัฒนาจิตนั้นไม่ใช่การฝึกหนีโลก หรือหลบไปหาความสงบ หมกมุ่นอยู่กับตัวเอง จนไม่สนใจสิ่งรอบข้าง ปิดการรับรู้..
.
แต่เราฝึกจิตให้จิตใจตั้งมั่น มั่นคง อยู่กับกระแสโลกได้อย่างสง่าผ่าเผย
.
หลายคนเข้าใจผิด คิดว่าฝึกจิตให้นิ่งได้แล้ว ถือว่าจบแล้ว พอแล้ว วัน ๆ มัวแต่ดูลมหายใจ จนกระทั่งเหมือนกับไม่ได้ดูโลก เรียกว่ามันแต่ดูกาย ดูใจ จนลืมดูโลก
.
เราไม่ไดฝึกจิตใจให้มัวดูแต่ตัวเองนะครับ ขณะเดียวกันเราก็ไม่ได้ฝึกให้เห็นแต่โลกข้างนอกอย่างเดียว แต่เราฝึกให้ดูโลกที่มีตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของโลกด้วย เราจึงจะเห็นโลกครบถ้วน เห็นโลกทั้งหมดรวมเห็นตัวเองด้วย”

Read More »

เปรียบเทียบ IDG’s กับองค์ประกอบสุขภาวะทางปัญญาของคนไทยวัยทำงาน

นักจิตวิทยาที่ได้กล่าวถึงเรื่องจิตวิญญาณคือ Abraham Maslow เขาเชื่อว่าบุคคลทุกคนเกิดมากับความต้องการทางจิตวิญญาณ และมีชีวิตอยู่เพื่อประสบกับภาวะเหนือการยึดติดตัวตน (Transcendent) นอกจากนี้ เขายังเชื่อว่าบุคคลที่มีความสมบูรณ์ทางจิตมากที่สุด (the psychologically healthiest individuals) จะเป็นผู้ที่มีการบูรณาการในชีวิตที่ดี

Read More »
Facebook
Email
Twitter
Telegram